๘๐ ปี แห่งประวัติศาสตร์การเรือดำน้ำราชนาวีไทย
"๔ กันยายน วันเรือดำน้ำไทย"
ย้อนไปเมื่อวันท
ี่ ๔
กันยายน ๒๔๘๐ บริษัท มิตซูบิชิ แห่งเมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
ซึ่งเป็นบริษัทค
ู่สัญญาการว่าจ้
างต่อเรือดำน้ำ จำนวน ๔ ลำ
ให้กับกองทัพเรื
อ
ได้สร้างเรือดำน
้ำ ๒ ลำแรก
เสร็จสมบูรณ์ ได้แก่ เรือหลวงมัจฉาณุ
และ เรือหลวงวิรุณ
จากนั้นได้ทำพิธ
ีส่งมอบเรือดำน้
ำทั้ง ๒ ลำ ให้แก่กองทัพเรื
อ
.
นับว่าเป็นวันสำ
คัญยิ่งอีกวันหน
ึ่งในประวัติศาส
ตร์กองทัพเรือ และภายหลังจากที
่บริษัทฯ สร้างเรือดำน้ำทั้ง ๔ ลำ เสร็จสมบูรณ์และ
ส่งมอบเรือให้กอ
งทัพเรือแล้ว เรือหลวงมัจฉาณุ
เรือหลวงวิรุณ เรือหลวงสินสมุท
ร และ เรือหลวงพลายชุม
พล ได้ออกเดินทางจา
กประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๘๑
และเดินทางถึงปร
ะเทศไทย
เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๘๑ ตามลำพัง โดยปราศจากเรือพ
ี่เลี้ยง ซึ่งยังความประห
ลาดใจแก่ชาวญี่ป
ุ่นและชาวอเมริก
ันเป็นอันมาก
.
เพราะเรือดำน้ำข
นาดเล็กเช่นนี้ต
่างประเทศย่อมมี
เรือพี่เลี้ยงทั
้งสิ้น นี้เป็นสัญลักษณ
์แสดงถึงความกล้
าหาญและความสามา
รถของกำลังพลประ
จำเรือดำน้ำของก
องทัพเรือ
.
สำหรับเรือดำน้ำ
ทั้ง ๔ ลำ เรือหลวงมัจฉานุ
เรือหลวงวิรุณ เรือหลวงสินสมุท
ร และเรือหลวงพลาย
ชุมพล เป็นชื่อพระราชท
าน เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๐
.
เรือหลวงมัจฉาณุ
(HTMS Matchanu) หมายเลขเรือ ๑ เป็นชื่อพระราชท
าน มาจากชื่อตัวละค
รในวรรณคดีไทยซึ
่งมีอิทธิฤทธิ์ใ
นการดำน้ำ คือ มัจฉานุ
จากเรื่องรามเกี
ยรติ์ มี
เรือเอกซุ้ย นพคุณ เป็นผู้บังคับกา
รเรือ วางกระดูกงูเมื่
อวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๙
ปล่อยลงน้ำเมื่อ
วันที่ ๒๔ ธันวาคม
พ.ศ.๒๔๗๙
.
เรือหลวงวิรุณ (HTMS Wirun) หมายเลขเรือ ๒
เป็นชื่อพระราชท
าน
มาจากชื่อตัวละค
รในวรรณคดีไทยซึ่งมีอิทธิฤทธิ์ใ
นการดำน้ำ คือ วิรุณจำบัง
จากเรื่องรามเกี
ยรติ์ มี
เรือเอกพร เดชดำรง เป็นผู้บังคับกา
รเรือ. วางกระดูกงูเมื่
อวันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๙
ปล่อยลงน้ำเมื่อ
วันที่ ๒๔ ธันวาคม
พ.ศ.๒๔๗๙
.
เรือหลวงสินสมุท
ร (HTMS Sinsamut) หมายเลขเรือ ๓
เป็นชื่อพระราชท
าน
มาจากชื่อตัวละค
รในวรรณคดีไทย ซึ่งมีอิทธิฤทธิ์ใ
นการดำน้ำ คือ สินสมุทร
จากเรื่องพระอภั
ยมณี มี
เรือเอกสนอง ธนาคม เป็นผู้บังคับกา
รเรือ วางกระดูกงูเมื่
อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๙
ปล่อยลงน้ำเมื่อ
วันที่ ๑๔ พฤษภาคม
พ.ศ.๒๔๘๐
.
เรือหลวงพลายชุม
พล (HTMS Phlai-chumphon)
หมายเลขเรือ ๔ เป็นชื่อพระราชท
านมาจากชื่อตัวล
ะครในวรรณคดีไทย
ซึ่งมีอิทธิฤทธิ
์ในการดำน้ำ คือ พลายชุมพล
จากเรื่องขุนช้า
งขุนแผน มี
เรือเอก สาคร จันทประสิทธิ์ เป็นผู้บังคับกา
รเรือ วางกระดูกงูเมื่
อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๙
ปล่อยลงน้ำเมื่อ
วันที่ ๑๔ พฤษภาคม
พ.ศ.๒๔๘๐
.
เรือหลวงมัจฉาณุ
และเรือหลวงวิรุ
ณ ประกอบแล้วเสร็จ
สมบูรณ์ เมื่อวันที่ ๔ กันยายน พ.ศ.๒๔๘๐
ทางบริษัท มิตซูบ
ิชิ ได้จัดพิธีส่
งมอบให้เป็นกรรม
สิทธิของกองทัพเ
รือไทย และนำลูกเรือเข้
าประจำเรือ
.
เรือดำน้ำของไทย
ทั้งสี่ลำ เดินทางออกจากเม
ืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน
พ.ศ.๒๔๘๑ ถึงกรุงเทพเมื่อ
วันที่
๒๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๑ เข้าประจำการเมื
่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๑
ได้ออกปฏิบัติกา
รในสงครามอินโดจ
ีนกับฝรั่งเศส และสงครามโลกครั
้งที่สอง เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๔
ซึ่งในระหว่างปร
ะจำการ
มีการปฏิบัติงาน
ระหว่างสงครามที
่สำคัญที่ต้องจา
รึกไว้ คือ เมื่อครั้งกรณีพ
ิพาทอินโดจีน-ฝร
ั่งเศส หลังจาก เรือหลวงธนบุรี
และเรือตอร์ปิโด
ถูกเรือฝรั่งเศส
ยิงจมแล้ว เรือหลวงมัจฉาณุ
เรือหลวงวิรุณ เรือหลวงสินสมุท
ร และเรือหลวงพลาย
ชุมพล ได้ไปลาดตระเวนเ
ป็น ๔ แนว อยู่หน้าบริเวณฐ
านทัพเรือเรียม ใช้เวลาดำอยู่ใต
้น้ำทั้งสิ้นลำล
ะ ๑๒ ชั่วโมง ในเวลากลางวัน
ส่วนกลางคืนแล่น
ลาดตระเวนบนผิวน
้ำ นับเป็นปฏิบัติก
ารดำที่นานที่สุ
ดที่เคยดำมา ซึ่งยังปรากฏจาก
หลักฐานของฝ่ายฝ
รั่งเศสในการรบท
ี่เกาะช้างว่าฝร
ั่งเศสมีความหวั
่นเกรงเรือดำน้ำ
ทั้ง ๔ ลำ ของไทยมาก
แต่เพื่อผลของกา
รยุทธ
จึงได้ตัดสินใจเ
ลี่ยงเข้ามาปฏิบ
ัติการในอ่าวไทย
โดยกำหนดแผนการป
ฏิบัติเป็นช่วงร
ะยะเวลาสั้นมาก เมื่อปฏิบัติการ
เสร็จก็รีบถอนตั
วกลับทันที เพราะเกรงว่าจะถ
ูกต่อตีด้วยเรือ
ดำน้ำ
.
เรือดำน้ำทั้ง ๔ ลำ
ปลดประจำการเมื่
อวันที่ ๓๐
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๔ พร้อมกัน เนื่องจากขาดแคล
นชิ้นส่วนอะไหล่
หลังจากญี่ปุ่นพ
่ายแพ้สงครามโลก
และไม่ได้รับอนุ
ญาตให้ผลิตอาวุธ
ยุทโธปกรณ์
.
โรงงานแบตเตอรีข
องไทยที่ตั้งขึ้
นก็ไม่สามารถผลิ
ตแบตเตอรี่สำหรับ
ใช้ประจำเรือได้
ประกอบกับเหตุกาณ์กบฏแมนฮัตตัน
เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๔
ทำให้มีการเปลี่
ยนแปลงอย่างขนาน
ใหญ่ในกองทัพเรื
อ มีคำสั่งยุบหมวด
เรือดำน้ำ โอนย้ายไปรวมกับ
หมวดเรือตรวจฝั่
งที่ตั้งขึ้น
.
ซึ่งเรือดำน้ำทั
้ง
๔ ลำ ได้รับใช้ราชการ
ในกองทัพเรือเป็
นเวลากว่า ๑๔
ปีเต็ม
.
ภายหลังปลดประจำ
การ เรือทั้ง ๔ ลำ ได้นำมาจอดเทียบ
กันที่ ท่าเรือในแม่น้ำ
เจ้าพระยา ใกล้กับ โรงพยาบา
ลศิริราช ต่อมาได้มีการขา
ยเรือให้กับบริษ
ัทปูนซีเมนต์ไทย
เพื่อทำการศึกษา
และ Reverse engineering
คงเหลือแต่หอบัง
คับการ อาวุธปืน
และกล้องส่อง ทางกองทัพเรือ ได้นำมาจัดสร้าง
สะพานเรือจำลอง จัดแสดงที่พิพิธ
ภัณฑ์ทหารเรือ หน้าโรงเรียนนาย
เรือ และที่ป้อมพระจุ
ลจอมเกล้า จังหวัดสมุทรปรา
การ
.
เรือดำน้ำนับได้
ว่าเป็นอันตรายอ
ย่างยิ่งในการยุ
ทธทางเรือ โดยที่เรือดำน้ำ
สามารถดำน้ำอยู่
ใต้ท้องทะเล ซ่อนพรางมิให้ตร
วจพบได้ง่าย และสามารถทำลายก
ำลังเรือผิวน้ำไ
ด้โดยอาวุธตอร์ป
ิโดหรืออาวุธปล่
อยนำวิถีจากท่อต
อร์ปิโดใต้น้ำ ในการปราบเรือดำ
น้ำข้าศึก เพียงหนึ่งลำ
จะต้องใช้กำลังเ
รือผิวน้ำ ๔ - ๕
ลำ ควบคู่กับการใช้
เฮลิคอปเตอร์และ
อากาศยานปราบเรื
อดำน้ำจำนวนหนึ่
ง ทำให้ต้องใช้จ่า
ยงบประมาณเป็นจำ
นวนมากในการจัดต
ั้งหน่วยล่าทำลา
ย (HUNTER – KILLER) เรือดำน้ำ
.
แต่หากประเทศไทย
มีเรือดำน้ำแล้ว
จะสามารถใช้เรือ
ดำน้ำเป็นเครื่อ
งมือทำลายเรือดำ
น้ำข้าศึกได้อย่
างดี และสามารถช่วยป้
องปรามข้าศึก รวมถึงการป้องกั
นและรักษาเส้นทา
งคมนาคมทางทะเลท
ี่กว่าร้อยละ ๙๕ ของสินค้าเข้า-อ
อก ต้องใช้เส้นทางค
มนาคมทางทะเลได้
เป็นอย่างดีอีกด
้วย
.
ปัจจุบันกองทัพเ
รือกำลังจะมีเรื
อดำน้ำเข้าประจำ
การอีกครั้งในปี
พ.ศ.๒๕๖๖
ที่มา: กองทัพเรือ Royal Thai Navy
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น