ข้อมูลเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง (OPV) ชุดเรือหลวงปัตตานี
ร.ล.ปัตตานี (511) สร้างโดย CHINA SHIPBUILDING TRADING COMPANY ขึ้นระวางประจำการ เมื่อ 7 พ.ย. 2548ระวางขับน้ำ : ปกติ (1,460) เต็มที่ (1,635) ตัน
มิติ (ก x ย x ส) : 11.8 x 94.50 x 21.2 ม. น้ำลึกหัว (3.24) ท้าย (3.56) ม.
ความเร็ว : มัธยัสถ์ (15) สูงสุด (25) Kts.
สิ้นเปลือง : มัธยัสถ์ (0.7) สูงสุด (3) กล./ชม.
ระยะปฏิบัติการสูงสุด : 3,500 Nm.
ความจุ: นม.ชพ. (198.121 กล.) น้ำ (76.22 ต.) เสบียง (20วัน)
ปฏิบัติการโดยลำพัง : 20 วัน
เครื่องจักร
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Ruston) 16RK270 2 เครื่อง
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN Diesel D2840 LE301 4 เครื่อง
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
อาวุธ
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
มีระบบรองรับการติดตั้งแท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ
อิเล็กทรอนิกส์
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Selex RAN-30X/I
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Rhienmetall TMX/EO
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Rhienmetall TDS
เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25 SeaScout 3 ชุด และ Koden (เฉพาะ 512)
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik COSYS 100
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Atlas Elektronik BM 2000 3 ชุด
ระบบพิสูจน์ฝ่าย (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ RAN-30X/I) Selex Communications
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Raytheon Anschutz NSC-series
Royal Thai Navy Combatant Ship Specification | เรือรบของกองทัพเรือไทย
ประมวลภาพ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงปัตตานี..
เรือหลวงปัตตานี (511) ขณะเข้าอู่แห้งเพื่อรับการซ่อมทำ
เรือหลวงปัตตานี (511) ขณะนำเรือออกสู่ทะเลเพื่อปฏิบัติภารกิจต่างๆ..
ยังประจำการอยู่ไหมครับ
ตอบลบ