หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

รวมภาพเรือรบแห่งราชนาวีไทย EP.8

รวมภาพ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด ร.ล.ปัตตานี (OPV-511) ,ร.ล.นราธิวาส (OPV-512) และเรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด ร.ล.กระบี่ (OPV-551) ,ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (OPV-552) เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งทั้ง 4 ลำ สังกัด กองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ ...
—————————————————
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด ร.ล.ปัตตานี (จำนวน 2 ลำ)
ร.ล.ปัตตานี (511) ขึ้นระวางประจำการ 16 ธันวาคม 2548
ร.ล.นราธิวาส (512) ขึ้นระวางประจำการ 20 มีนาคม 2549

ผู้สร้าง China State Shipbuilding Corperation (CSSC) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

คุณลักษณะ
ระวางขับน้ำเต็มที่ 1,440 ตัน
ความยาว 95.5 ม. ความกว้าง 11.6 ม. กินน้ำลึก 3.0 ม.
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 3,500 ไมล์
กำลังพลประจำเรือ 84 นาย
 
เครื่องจักร
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Ruston) 16RK270 2 เครื่อง
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN Diesel D2840 LE301 4 เครื่อง
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้

อาวุธ
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
มีระบบรองรับการติดตั้งแท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ

อิเล็กทรอนิกส์
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Selex RAN-30X/I
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Rhienmetall TMX/EO
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Rhienmetall TDS
เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25 SeaScout 3 ชุด และ Koden (เฉพาะ 512)
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik COSYS 100
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Atlas Elektronik BM 2000 3 ชุด
ระบบพิสูจน์ฝ่าย (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ RAN-30X/I) Selex Communications
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Raytheon Anschutz NSC-series
https://thaiarmedforce.com/royal-thai-navy-combatant-ship-specification-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%A3/
—————————————————
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุด ร.ล.กระบี่ (จำนวน 2 ลำ)
ร.ล.กระบี่ (511) ขึ้นระวางประจำการ 26 สิงหาคม 2556
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (512) ขึ้นระวางประจำการ 27 กันยายน 2562

ผู้สร้าง กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือ/Bangkok Dock ประเทศไทย โดยใช้แบบเรือของ BAE Systems Surface Ships ประเทศอังกฤษ

ข้อมูลของเรือเฉพาะ ร.ล.กระบี่

คุณลักษณะ
ระวางขับน้ำเต็มที่ 1,969 ตัน
ความยาว 90.5 ม. ความกว้าง 13.5 ม. กินน้ำลึก 3.8 ม.
ความเร็วสูงสุด 23 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วเดินทาง 3,500 ไมล์
ความคงทนทะเลระดับ sea state 5
กำลังพลประจำเรือ 55 นาย (รองรับกำลังพลเพิ่มเติมได้อีก 34 นาย)

เครื่องจักร
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel 16V 23/33D กำลัง 7,200 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง
ชุดเกียร์ ZF Marine 53600 NR2H
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักร Wartsila Lips Defence แบบปรับมุมได้

อาวุธ
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
ปืนใหญ่กล MSI-DSL/ATK DS30MR Mk.44 ขนาด 30 มม./70 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น
ลานจอดเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ

อิเล็กทรอนิกส์
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Thales Variant
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales LIROD Mk 2
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
เรดาร์เดินเรือ 2 ชุด
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3
ระบบถาม/ตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk XII (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ Variant) Thales TSB2525
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Thales FICS พร้อมระบบเครือข่าย Thales FOCON IP C
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม INMARSAT-M
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS)
ระบบควบคุมระบบเรือแบบรวมการ (IPMS) Servowatch
https://thaiarmedforce.com/royal-thai-navy-combatant-ship-specification-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%A3/
—————————————————
เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (512)

คุณลักษณะทั่วไปของเรือ
- ความยาวตลอดลำ 90.50 เมตร กว้าง 13.50 เมตร
- ความยาวที่แนวน้ำ 83.00 เมตร กินน้ำลึก 3.70 เมตร
- ระวางขับน้ำไม่น้อยกว่า 1,960 ตัน
- ความเร็วสูงสุดไม่ต่ำกว่า 23 นอต (ที่ Full load)
- ระยะปฏิบัติการไม่น้อยกว่า 3,500 ไมล์ทะเล (ที่ความเร็วเดินทางไม่ต่ำกว่า 15 นอต)

ระบบอาวุธประจำเรือ
- ปืนขนาด 76/62 มิลลิเมตร แบบอัตโนมัติ รุ่น Multi – Feeding Vulcano Super Rapid จำนวน 1 ระบบ
- ปืนกลขนาด 30 มิลลิเมตร แท่นเดี่ยว รุ่น Seahawk MSI-DS30MR จำนวน 2 กระบอก
- ปืนกลขนาด 0.50 นิ้ว M2 จำนวน 2 กระบอก
- อาวุธปล่อยนำวิธีพื้นสู่พื้น Harpoon Block II แบบ Advanced Harpoon Weapon Control System จำนวน 1 ระบบ ประกอบด้วย 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง

อิเล็กทรอนิกส์
- ระบบควบคุมบังคับบัญชาและตรวจการณ์ 1 ระบบ ประกอบด้วย ระบบอำนวยการรบ ระบบควบคุมการยิงระบบตรวจการณ์ ระบบเดินเรือแบบรวมการ ระบบสื่อสารแบบรวมการ และการออกแบบให้มีขีดความสามารถในการทำสงครามอิเล็กทรอนิกส์
- เครื่องยิงเป้าลวง ( Decoy Launcher ) จำนวน 2 แท่น
ขีดความสามารถ (Combat Capability)
- สามารถออกปฏิบัติงานในทะเลอย่างต่อเนื่องได้ไม่น้อยกว่า 14 วัน โดยไม่ต้องรับการส่งกำลังบำรุงเพิ่มเติม
- สามารถปฏิบัติการได้ถึงสภาวะทะเลระดับ 5 (Sea State 5)
- สามารถตรวจการณ์ และพิสูจน์ทราบเป้าผิวน้าและเป้าอากาศยานได้ทั้งเวลากลางวันและกลางคืน
- สามารถโจมตีเป้าพื้นน้ำในระยะพ้นขอบฟ้าได้ด้วยอาวุธปล่อยนำวิถี
- สามารถป้องกันภัยทางอากาศในระยะประชิดได้ตามสมรรถนะของอาวุธประจำเรือ
- สามารถทำสงครามอิเล็กทรอนิกส์โดยติดตั้งอุปกรณ์ ESM และออกแบบให้รองรับการติดตั้งเชื่อมต่อการใช้งานระบบเป้าลวงได้
- สามารถปฏิบัติงานร่วมกับเฮลิคอปเตอร์ขนาดไม่ต่ำกว่า 11.5 ตัน ได้ทั้งกลางวันและกลางคืน
- สามารถรองรับกำลังพลได้ไม่น้อยกว่า 115 นาย (กำลังพลประจำเรือ 99 นาย และปฏิบัติการทางอากาศ 16 นาย)
https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/107760
Navy For Life
9 ตุลาคม 2019
Fire!!!
รูปสวยในรอบปีของเพจ ... จังหวะ Submunition ของ Decoy พุ่งออกจากลูก Decoy ด้วยแรงดันอากาศธาตุที่เกิดจากการระเบิด ในการทดสอบ Decoy Live Firing ของ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ โดยมีฉากหลังเป็น ร.ล.สัตหีบ
By Admin
—————————————————
—————————————————
ร.ล.ปัตตานี (511)
—————————————————
ร.ล.ปัตตานี (511)
26 ตุลาคม 2019
เยี่ยมชมเรือ ที่ ฐานทัพเรือสงขลา
—————————————————
ร.ล.ปัตตานี (511)
14 มกราคม 2020
เยี่ยมชมเรือ ที่ ฐานทัพเรือพังงา
—————————————————
ร.ล.นราธิวาส (512)
—————————————————
ร.ล.นราธิวาส (512)
31 กรกฎาคม 2020
—————————————————
—————————————————
ร.ล.กระบี่ (551)
—————————————————
ร.ล.กระบี่ (551)
เข้าร่วมทำการฝึกกองทัพเรือ ประจำปี 2564 ...
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
28 ก.พ. - 31 พ.ค. 2020
6 มีนาคม 2020
# ร.ล.สุรินทร์ # ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ # ร.ล.กระบี่ # ร.ล.มกุฎราชกุมาร — ที่ เกาะช้าง
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
17 ก.ค. - 11 พ.ย. 2020
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
Navy For Life
21 พฤศจิกายน 2020
ลาดตระเวนร่วมไทย-เวียดนาม ครั้งที่ 42

กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือเวียดนามจัดการลาดตระเวนร่วมครั้งที่ 42 ในทะเลบริเวณพื้นที่เหลื่อมทับทางทะเล ไทย-เวียดนาม ที่มีเส้นแบ่งพื้นที่จากการตกลงร่วมกันเรียกว่าเส้น KC Line ระหว่างวันที่ 18-20 พ.ย.63 ที่ผ่านมา

นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 จากเวทีการประชุมระหว่างกองทัพเรือไทยและกองทัพเรือเวียดนาม เป็นต้นมา กองทัพเรือไทย และ กองทัพเรือเวียดนาม ได้จัดให้มีการลาดตระเวนร่วมในพื้นที่เหลือมทับระหว่างกันเป็นประจำ โดยในครั้งนี้เป็นครั้งที่ 42 ทั้งนี้ในระหว่างการลาดตระเวนร่วมในพื้นที่ดังกล่าว ได้มีการจัดการฝึกระหว่างหมู่เรือลาดตระเวน เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติการร่วมกันในอนาคต โดยมีการฝึกการสื่อสารทางทัศนะ (SEMAPHOR) ได้แก่ ธงสองมือ และ โคมไฟสากล การฝึกพล๊อตตราทางเป้า (PLOTEX) การฝึกค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล (SAREX) และ การฝึกใช้บรรณสารร่วมในอาเซียน (CUES)

ในการลาดตระเวนร่วมในครั้งนี้ กองทัพเรือไทย ได้จัดเรือจากทัพเรือภาคที่ 1 คือ ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ และ ทัพเรือภาคที่ 2 คือ ร.ล.ล่องลม โดยมี น.อ.ศุภสิทธ์ บูรณะโอสถ เป็นผู้บังคับหมู่เรือ ส่วนกองทัพเรือเวียดนามได้จัดเรือจากภูมิภาคทหารเรือที่ 5 จำนวน 2 ลำ คือ เรือตรวจการณ์ชั้น Svetlyak จำนวน 2 ลำ คือ เรือ HQ-264 และ เรือ HQ-265 โดยการลาดตระเวนร่วมครั้งที่ 42 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
Admin Langsdorff
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
15 ธันวาคม 2020
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
Navy For Life
8 มีนาคม 2021
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
เข้าร่วมทำการฝึกกองทัพเรือ ประจำปี 2564 ...
—————————————————
—————————————————
ร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (552)
Navy For Life
24 เมษายน เวลา 11:04 น.

ระหว่างวันที่ 19-20 เม.ย. 2564 ที่ผ่านมา กองทัพเรือไทย และ กองทัพเรือเวียดนาม จัดการลาดตระเวนร่วมทางทะเลครั้งที่ 43 ในพื้นที่ KC Line (เส้นแบ่งพื้นที่ทางทะเลที่มีการทับซ้อน และเจรจาแบ่งพื้นที่ระหว่างกันแล้ว) โดยกองทัพเรือได้จัดร.ล.ประจวบคีรีขันธ์ (ทัพเรือภาคที่ 2) และ ร.ล.ตากใบ (ทัพเรือภาคที่ 1) เป็นหมู่เรือลาดตระเวน ส่วนทางกองทัพเรือเวียดนามจัดเรือ HQ-264 และ เรือ HQ-265 จากภูมิภาคทหารเรือที่ 5 เกาะฟูก๊อก

อ้างอิง
https://www.baohaiquanvietnam.vn/tin-tuc/hai-quan-nhan-dan-viet-nam-hai-quan-hoang-gia-thai-lan-tuan-tra-chung-lan-thu-43?fbclid=IwAR07bvOYArNn8zXUkvlwqJtyVbIqAwbImTvt-Qs-kdplexsoRwZYEPOI970
—————————————————

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น